ใครนะไปกินข้าวกับโรลส์-รอยซ์?? ตอนนั้นมี 2 คนนี้เป็นรัฐมนตรีช่วย (มีคลิป)

ใครนะไปกินข้าวกับโรลส์-รอยซ์ ตอนนั้นมี 2 คนนี้เป็นรัฐมนตรีช่วย

โรลส์-รอยซ์ มีพฤติกรรมในการทุจริตติดสินบนทั่วโลก ประเทศอินโดเนเซีย บราซิล  1 ในนั้นคือ ประเทศไทย  ป.ป.ช.อังกฤษ ไปพบเอกสารหลักฐานของโรลส์-รอยซ์ ที่มีสัมพันธ์กับการบินไทย 3 ช่วงเวลา คือ 1. ปี 2534-2535 จ่ายค่านายหน้าเจ้าหน้าที่รัฐบาลไทย 18.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 2.ปี2535-2540 จ่ายให้เจ้าหน้าที่การบินไทย 10.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 3.ปี 2547-2548 จ่ายให้เจ้าหน้าที่รัฐบาลและพนักงานการบินไทย 7.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปี 2547-2548 ได้มีการตรวจสอบพบว่ามีมติ ครม.ในยุคของ นายทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 23 พ.ย.57 ครม.ทักษิณมีการอนุมัติสั่งซื้อเครื่องบิน Boeing  และ Airbus รวมทั้งสิ้น 96,355 ล้านบาท คนที่ลงนามเสนอเรื่องอนุมัติคือนายสุริยะ จึงรุ่งเรื่องกิจ รมว.คมนาคม ตอนนั้น ในวงเงิน 96,355 ล้านบาท จำนวนหนึ่งนำไปซื้อ Airbus A340-500 ทั้งหมด 4 ลำ ซึ่งตอนนี้จอดที่อู่ตะเภา เริ่มเปิดบริการประมาณ ปี 2547 ปลดระวางเมื่อปี 2551

ใครนะไปกินข้าวกับโรลส์-รอยซ์?? ตอนนั้นมี 2 คนนี้เป็นรัฐมนตรีช่วย (มีคลิป) ใครนะไปกินข้าวกับโรลส์-รอยซ์?? ตอนนั้นมี 2 คนนี้เป็นรัฐมนตรีช่วย (มีคลิป)

ทั้งนี้ข้อมูลของรายการได้มีการอ้างอิงถึงบทความของเปลวสีเงินที่ไล่เรียงมา การติดสินบนของ โรลส์-รอยซ์ จ่ายสินบนการจัดซื้อเครื่องยนต์และเครื่องจักรแก่เจ้าหน้าที่รัฐในบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และปตท.นายสรรเสริญ พลเจียก เลขาธิการ ป.ป.ช. ในฐานะประธานคณะทำงานสืบสวนและรวบรวมข้อมูลกรณีสินบนบริษัท โรลส์รอยซ์  กล่าวว่า จากการประชุมทางไกลผ่านระบบเทเลคอนเฟอร์เรนซ์กับสำนักงานการปราบปรามการทุจริตของประเทศอังกฤษ (เอสเอฟโอ) นั้นได้ขอให้ ป.ป.ช.ทำหนังสืออย่างเป็นทางการเพื่อยืนยันว่าเป็นหน่วยงานหลักในการสืบสวนสอบสวนเรื่องดังกล่าว และระบุด้วยว่า ต้องการสอบถามเรื่องใด ประเด็นใด ส่งเป็นข้อคำถามไปอย่างชัดเจน การส่งหนังสือจะต้องมีหลักฐานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประกอบกันด้วย เพื่อยืนยันว่า ป.ป.ช.เป็นหน่วยงานหลักคาดว่าภายในสัปดาห์หน้าจะสามารถส่งหนังสือให้เอสเอฟโอได้
ทั้งนี้การติดสินบนของ โรลส์-รอยซ์ ได้รับการเปิดเผย อีเมลภายในของโรลส์-รอยซ์ ซึ่งระบุว่า
ตามหลักฐานที่สำนักข่าวอิศราตีแผ่ 4 ธ.ค.2547
อีเมล์ภายในของโรลส์-รอยซ์อีกฉบับระบุ คำสั่งซื้อ/ออร์เดอร์ของการบินไทย ได้รับการอนุมัติแล้ว Calls between [certain Thai Government ministers and a Thai Airways employee] yada, allpositive. Airline still not heard the good word yet and not clear if POs signed. [Intermediary 3 and the Regional Intermediary] have commitment from [the Thai Government deputy minister whom they had met] that it will be sorted by tomorrow.
"มีสายตรงระหว่าง (รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐบาลไทยกับพนักงานการบินไทย) เป็นไปด้วยดี ทางสายการบินยังไม่ได้รับทราบข่าวดีใดๆ และยังไม่มีท่าทีแน่ชัดถึงการเซ็นสัญญา POs (นายหน้า 3 รวมทั้งนายหน้าส่วนภูมิภาค) ได้รับคำมั่นสัญญาจากรัฐมนตรีช่วยว่าการของรัฐบาลไทย ซึ่งพวกเขาได้พบก่อนหน้านี้ ว่าเรื่องราวดังกล่าวจะถูกไล่เลียงความชัดเจนภายในวันรุ่งขึ้น"
ท้ายอีเมลมีข้อความด้วยว่า.............
"WARNING:-[the Regional Intermediary and Intermediary 3] have dinner with [the Thai Government deputy minister whom they had met] on 18th Dec and hence [the Regional Intermediary] may suddenly decide to support [Intermediary 3]'s request." […] "we should be firm in my view. Comments?"
"นายหน้าส่วนภูมิภาค กับคนกลาง 3 ได้ร่วมรับประทานอาหารค่ำด้วยกันในวันที่ 18 ธ.ค.กับรัฐมนตรีช่วยว่าการของรัฐบาลไทยคนหนึ่ง ที่เคยพบกันมาก่อน และถ้าเป็นอย่างนั้น นายหน้าส่วนภูมิภาคอาจตัดสินใจกะทันหันเพื่อสนับสนุนคำขอของนายหน้า 3 ก็ได้ '[ ]' พวกเราควรทำตามข้อเสนอ คิดเห็นว่ายังไง?”
ทั้งนี้ถ้าจะพิจารณาข้อมูลสำคัญประกอบ  เมื่อตรวจสอบกลับไปประมาณปี 2547 พบว่า การบินไทยเคยจัดหาเครื่องบิน 14 ลำ มูลค่า 9.6 หมื่นล้านบาท
ครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2547 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2548 มีการจ่ายเงิน 7.2 ล้านเหรียญสหรัฐ (252 ล้านบาท) เงินบางส่วนไปอยู่กับเจ้าหน้าที่รัฐและพนักงานการบินไทยเป็นค่านายหน้า เพื่อช่วยให้ โรลส์-รอยซ์ ขายเครื่องยนต์ที 800 ในเครื่องบินรุ่นโบอิ้ง 777 ให้กับการบินไทย
3.การจัดซื้อจัดจ้างช่วงที่ 3 ระหว่างวันที่ 1 เม.ย. 2547-28 ก.พ.2548 นายกนก อภิรดี ดีดีการบินไทย ช่วงปี 2545-2549 ภายใต้บอร์ดชุดนายทนง พิทยะ ประธานบอร์ด มิ.ย.2545-มี.ค.2548 และนายวันชัย ศารทูลทัต ประธานบอร์ด มี.ค.2548-พ.ย.2549
ส่วนรัฐมนตรีช่วงดังกล่าวนั้น มีนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ เป็น รมว.คมนาคม ต.ค.2545-6 ก.พ.2548 นายนิกร จำนง เป็น รมช.คมนาคม 5 มี.ค.2545-11 มี.ค.2548ซึ่งเป็นรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร
มติการประชุม ครม.ย้อนหลัง ในวันที่ 23 พ.ย.2547 พบว่า มีวาระการพิจารณาโครงการจัดหาเครื่องบินตามแผนวิสาหกิจปี 2548/49 -2552/53 ของบริษัทการบินไทย ของกระทรวงคมนาคม ลงนามโดย นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เป็นผู้ลงนามในเอกสารเสนอเรื่องต่อที่ประชุม ครม. ซึ่งมีสาระสำคัญอยู่ที่การขออนุมัติดำเนินโครงการจัดหาเครื่องบินตามแผนวิสาหกิจ ปี 2548/49 -2552/53  จำนวน 14 ลำ ประกอบด้วย เครื่องบินพิสัยไกลขนาดใหญ่มาก แบบ A380 จำนวน 6 ลำ เครื่องบินพิสัยไกลพิเศษ แบบ A340-500 จำนวน 1 ลำ เครื่องบินพิสัยไกลขนาดกลาง แบบ A340-600 จำนวน 1 ลำ และเครื่องบินพิสัยไกลขนาดกลาง แบบ B777-200 ER จำนวน 6 ลำ ในวงเงินลงทุนทั้งสิ้น 96,355 ล้านบาท โดยจะลงทุนในปี 2547/2548 จำนวน 7,818 ล้านบาท

ใครนะไปกินข้าวกับโรลส์-รอยซ์?? ตอนนั้นมี 2 คนนี้เป็นรัฐมนตรีช่วย (มีคลิป)

ติดตามรายละเอียดได้ที่ หลักฐานเด็ด !?!? อีเมล์ "โรลส์-รอยซ์" เปิดทุกออร์เดอร์ ชัด "รัฐมนตรีช่วยไทย " เกี่ยวข้อง ...ใครเป็นใครกระชากหน้ากาก (รายละเอียด) http://headshot.tnews.co.th/contents/td/221914/

 ก่อนหน้านี้ เปลวสีเงิน ได้นำเสนอบทความ ระบุว่า "สำนักข่าวอิศรา" เขาทำหน้าที่สื่อ "สืบเสาะข้อมูล" ได้เก่งนะ!แต่ใครเก่งกว่าใคร .......?
ระหว่างสำนักข่าวอิศรากับคณะทำงานที่ ป.ป.ช.ตั้ง (๒๔ ม.ค.๖๐) ไปสืบเสาะข้อมูล "สินบนโรลส์-รอยซ์"
เดี๋ยวก็รู้! หัวข้อที่ ป.ป.ช.มอบให้คณะทำงานไปสืบเสาะ ก็คือ
"กรณีบริษัทโรลส์รอยซ์จ่ายสินบนให้อดีตผู้บริหารและพนักงานบริษัทการบินไทย ในการจัดซื้อเครื่องยนต์เครื่องบินโบอิ้ง 777 รวม ๓ ครั้ง ในช่วงปี พ.ศ.๒๕๓๔-๒๕๔๘ เป็นเงิน ๑,๒๕๓ ล้านบาท
และการจ่ายสินบนของบริษัทโรลส์รอยซ์ เอเนอร์จี ซิสเต็ม ให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่บริษัท ปตท.และบริษัท ปตท.สผ.เป็นเงินกว่า ๓๘๕ ล้านบาท" เห็นหัวข้อปุ๊บ สิ่งแรกที่คิดแว็บ.......
นี่คืออีก ๑ ตัวอย่าง "เนื้อไม่ได้กิน หนังไม่ได้รองนั่ง แต่ต้องเอากระดูกแขวนคอ" คนที่หวังตำแหน่ง-หวังยศ โดยยอมทำทุกอย่างตามเจ้านาย-นักการเมืองสั่ง จงดูเรื่องจำนำข้าว เรื่องสินบนโรลส์-รอยซ์นี้เป็นมรณานุสติ ที่การบินไทย "ผู้บริหารและพนักงาน" ซวยก่อน ที่ ปตท.-ปตท.สผ. "ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่" ซวยก่อน ทั้งที่ทางปฏิบัติเป็นจริง..........คนระดับนี้ มีอำนาจ "ชี้เป็น-ชี้ตาย" ด้วยวงเงินเฉียดแสนล้านเชียวหรือ? "ใช่แน่หรือไม่ใช่" ในความเป็น "ตัวการ" ก็ยังไม่มีหลักฐานชี้ชัด ด้วยตำแหน่งหน้าที่ "รับรู้-ไม่ได้รับรู้" เป็นเรื่องหนึ่ง แต่ด้วยความรับผิดชอบตามตำแหน่งหน้าที่ ถึงไม่ (ได้) รับ ก็ต้องรับ! ไม่ใช่รับเงิน รับฎีกาคุกน่ะ! พูดกันทางกฎหมาย คนนั่งหน้าแป้น คอยเป็นมือ-เป็นตีนให้นักการเมือง เขาให้เซ็นอะไร ก็เซ็นไปทุกอย่างตามสั่ง แลกกับตำแหน่งนั่นน่ะ
คนเซ็น "ซวย" เพราะมีหลักฐาน คนสั่ง "รวย" เพราะไม่เป็นหลักฐาน! ทีนี้มาดูต่อ ถ้าตัวงาบ ไม่ใช่แค่ระดับผู้บริหาร-พนักงานในองค์กรรัฐวิสาหกิจ แล้วมีหลักฐานอะไรเป็นตัวบ่งชี้บ้างมั้ยว่า
"มีใคร-นักการเมืองคนไหน-พวกไหน คือแก๊ง 'ไอ้โม่งแดง' ที่งาบสินบน โรลส์-รอยซ์?" ในสินบน ๓ ครั้ง..... ครั้งที่ ๓ ช่วงปี ๒๕๔๗-๒๕๔๘ ประมาณ ๒๕๔ ล้านบาท ตามเอกสาร ป.ป.ช.อังกฤษ ทีสำนักข่าวอิศราเปิดเผยเป็นจดหมายภายในโรลส์-รอยซ์ ฉบับลงวันที่ ๑๙ พ.ย.๔๗ บันทึกการประชุมร่วมกันระหว่าง นายหน้า ๓ นายหน้าส่วนภูมิภาค และคนในรัฐบาลไทย ระบุบรรยากาศการประชุมครั้งนั้น ว่า “ช่างเป็นการประชุมที่ดีเหลือเกิน การจัดซื้อเครื่องบินรุ่นใหม่ แอร์บัส A 340 และโบอิ้ง 777 กำลังอยู่ในวาระการประชุมของคณะรัฐมนตรีในวันที่ 23 พฤจิกายนนี้ (2547)”
ก็มาดูตามวันที่ระบุ ปรากฏว่า ๒๓ พ.ย.๔๗ เป็นช่วง "รัฐบาลทักษิณ" วันที่ ๒๓ พ.ย.นั้น นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.คมนาคม เป็นผู้ลงนาม เสนอเรื่องขออนุมัติจัดซื้อต่อ ครม. และ ครม.ก็อนุมัติ ด้วยวงเงิน ๙๖,๓๕๕ ล้านบาท
นี่คือฝ่ายการเมือง.........
"การเสนอ-การอนุมัติ" ด้วยมติ ครม.หน้าฉากไม่ใช่คำตอบของคำว่า "สินบน" มันคือนโยบายและการบริหารตะหาก ก็มาดูต่อที่ "ลูกมือการเมือง".......ที่การบินไทย ใครคือผู้บริหารและพนักงานการบินไทยช่วงนั้น ซึ่งต้องมีส่วนรู้เห็นในโครงการจัดซื้อตามหน้าที่ ตามนัยที่ ป.ป.ช.ตั้งคณะ-ตั้งประเด็น-ตั้งธง สืบสวน-รวบรวมข้อมูล ก็ปรากฏว่า ช่วง มิ.ย.๔๕-มี.ค.๔๘...........
นายทนง พิทยะ เป็นประธานบอร์ดการบินไทย
นายกนก อภิรดี เป็นผู้อำนวยการใหญ่การบินไทย
เหล่านี้คือบุคคลที่มีตำแหน่งหน้าที่ ต้องรู้-ต้องเห็น-ต้องเซ็น-ต้องเสนอ-ต้องรับผิดชอบ ในการจัดซื้อเครื่องบินรุ่นใหม่ แอร์บัส A 340 และโบอิ้ง 777 ที่ใช้ "เครื่องยนต์สินบน" โรลส์-รอยซ์!
เอาล่ะ ก็จบไปภาคหนึ่ง ทีนี้มาดูต่อ นอกจากตัวละครในภาคแรกแล้ว ยังมีตัวละคร "แคบและชัด" ลงไปอีกชั้นหนึ่ง ว่านี่แหละ
แก๊ง "โม่งแดง" ตัวจริง ปรากฏร่างหรุบหรู่อยู่ใต้เงาจันทร์ที่สาดแสงโลมหล้า!
ตามหลักฐานที่สำนักข่าวอิศราตีแผ่
๔ ธ.ค.๔๗ ...........
อีเมล์ภายในของโรลส์-รอยซ์อีกฉบับระบุ คำสั่งซื้อ/ออร์เดอร์ของการบินไทย ได้รับการอนุมัติแล้ว Calls between [certain Thai Government ministers and a Thai Airways employee] yada, allpositive. Airline still not heard the good word yet and not clear if POs signed. [Intermediary 3 and the Regional Intermediary] have commitment from [the Thai Government deputy minister whom they had met] that it will be sorted by tomorrow.
"มีสายตรงระหว่าง (รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐบาลไทยกับพนักงานการบินไทย) เป็นไปด้วยดี ทางสายการบินยังไม่ได้รับทราบข่าวดีใดๆ และยังไม่มีท่าทีแน่ชัดถึงการเซ็นสัญญา POs (นายหน้า 3 รวมทั้งนายหน้าส่วนภูมิภาค) ได้รับคำมั่นสัญญาจากรัฐมนตรีช่วยว่าการของรัฐบาลไทย ซึ่งพวกเขาได้พบก่อนหน้านี้ ว่าเรื่องราวดังกล่าวจะถูกไล่เลียงความชัดเจนภายในวันรุ่งขึ้น"
ท้ายอีเมล์มีข้อความด้วยว่า.............
"WARNING:-[the Regional Intermediary and Intermediary 3] have dinner with [the Thai Government deputy minister whom they had met] on 18th Dec and hence [the Regional Intermediary] may suddenly decide to support [Intermediary 3]'s request." […] "we should be firm in my view. Comments?"
"นายหน้าส่วนภูมิภาค กับคนกลาง 3 ได้ร่วมรับประทานอาหารค่ำด้วยกันในวันที่ 18 ธ.ค.กับรัฐมนตรีช่วยว่าการของรัฐบาลไทยคนหนึ่ง ที่เคยพบกันมาก่อน และถ้าเป็นอย่างนั้น นายหน้าส่วนภูมิภาคอาจตัดสินใจกะทันหันเพื่อสนับสนุนคำขอของนายหน้า 3 ก็ได้ '[ ]' พวกเราควรทำตามข้อเสนอ คิดเห็นว่ายังไง?”
นั่นแน่.......
ไอ้โม่งแดง คือ "รัฐมนตรีช่วย" ที่เป็นตัวการ "หางโผล่" แล้วไง!
แล้วมันใคร คือ "รัฐมนตรีช่วย" ที่ร่วมยัดทานอาหารค่ำ เมื่อ ๑๘ ธ.ค.๔๗ เพราะรัฐมนตรีช่วยรัฐบาลทักษิณมีเต็มกระโถน
ใจเย็นๆ "รัฐบาลทักษิณ" ระหว่าง ม.ค.๔๔-ม.ค.๔๘ "คลัง-คมนาคม" ใคร-เป็นใครบ้างล่ะ ก็มาดูกัน
-๑๗ ก.พ.๔๔ ครม.ชุดแรก
"คมนาคม" นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น รมว. นายประชา มาลีนนท์ และนายพงศกร เลาหวิเชียร เป็น รมช.
"คลัง" นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็น รมว. นายวราเทพ รัตนากร และร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ เป็น รมช.
-๓ ต.ค.๔๕
คลัง:นายสมคิด-นายวราเทพ-ร้อยเอก สุชาติ เหมือนเดิม
"คมนาคม" เปลี่ยนยกชุด เป็น..........
นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.นายพิเชษฐ สถิรชวาล นายนิกร จำนง เป็น รมช.
-๘ ก.พ.๔๖
"คลัง" ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ เป็น รมว.
นายสมคิด โยกไปเป็น "รองนายกฯ"
นายวราเทพ รัตนากร ยังคงเป็น รมช.
-๘ พ.ย.๔๖
"คลัง" ยังคงเป็น ร้อยเอกสุชาติ รมว. และนายวราเทพ รมช.
"คมนาคม" นายสุริยะ รมว.คงเดิม
"นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี" เข้ามาเป็น รมช.แทนนายพิเชษฐ
-๑๐ มี.ค.๔๗
"คลัง" สมคิด กลับมาเป็น รมว. สุชาติ ไปเป็นรองนายกฯ
วราเทพ รัตนากร ยังอยู่ในตำแหน่ง รมช.เหนียวแน่น
"คมนาคม" นายสุริยะ รมว. และนายวิเชษฐ์ เป็น รมช.ตามเดิมครับ...
ทีมรัฐมนตรีคลัง นายสมคิด รมว. นายวราเทพ รมช. และทีมคมนาคม นายสุริยะ รมว. นายวิเชษฐ์ รมช. จนสิ้นเทอมรัฐบาลทักษิณ เมื่อ ๖ ม.ค.๔๘
ก็จะเห็นว่า "รัฐมนตรีช่วยว่าการ" ในกระทรวงหลัก มี ๒ รมช.คือ
"นายวราเทพ รัตนากร" รัฐมนตรีช่วยคลัง
"นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี" รัฐมนตรีช่วยคมนาคม
ทั้ง ๒ คนนี้ ผมไม่ได้บอกว่าเป็น "รัฐมนตรีช่วย" ตามเอกสารโรลส์-รอยซ์ เพียงแต่บอกว่า ..........
เป็นรัฐมนตรีช่วย ในกระทรวงคลัง-คมนาคม และอยู่ในตำแหน่งตามช่วงเวลานั้นเท่านั้น
ส่วน "รัฐมนตรีช่วย" ที่ไปยัดทานอาหารค่ำกันตามเอกสารโรลส์-รอยซ์ คือใคร-คนไหน ไว้ให้คณะทำงาน ป.ป.ช.หรือ สตง.เขาบอกเอง!
แต่น่าสนใจนะ ครม.ทักษิณ ๔ ปี ปรับกว่า ๑๓ ครั้ง
มีคนเดียวเป็น "รัฐมนตรีช่วย" ไม่ขยับเขยื้อนไปไหนเลย คือ "นายวราเทพ รัตนากร" ในตำแหน่ง รมช.คลัง
กระทั่งรัฐบาลทักษิณ ๒ ปี ๒๕๔๘
๑๑ มี.ค.๔๘ ตั้ง ครม.ปุ๊บ ชื่อแรกเห็นปั๊บ "นายวราเทพ รัตนากร" รัฐมนตรีช่วยว่าการคลัง!?
อะไรจะ "ดี-เด่น-ดัง" ผลงานเข้าตานายใหญ่-นายหญิง ผูกขาดเก้าอี้ รมช.คลังได้นิรันดร์กาลขนาดนั้น!
สมคิด-สุริยะซะอีก เมื่อเสร็จกิจ ตามติดมาเป็น รมว.คลัง-รมว.คมนาคมได้ ๕ เดือน ก็ย้าย
สมคิดไปพาณิชย์ แล้วให้ "นายทนง พิทยะ" จากประธานบอร์ดการบินไทย รับโบนัสเป็นรัฐมนตรีคลัง
สุริยะไปอุตสาหกรรม นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล มาเป็น รมว.คมนาคมแทน
"วราเทพ รมช.คลัง" คนเดียวจริงๆ สถิตเป็น "นางกวัก" ประจำไทยรักไทยของนายใหญ่-นายหญิง
เกิดกับรัฐบาลทักษิณ เมื่อ ๑๗ ก.พ.๔๔ อยู่ในตำแหน่งจนตายพร้อมรัฐบาลทักษิณ ๒ ที่ถูกบิ๊กบังปฏิวัติ ๑๙ ก.ย.๔๙
ก็จบด้วยคำถามประจำวัน..........
ใครเอ่ย....รับประทานอาหารค่ำด้วยกันเมื่อวันที่ ๑๘ ธ.ค.๔๗ กับแก๊งสินบนโรลส์-รอยซ์? "สำนักข่าวอิศรา" เขาทำหน้าที่สื่อ "สืบเสาะข้อมูล" ได้เก่งนะ!แต่ใครเก่งกว่าใคร .......?
ระหว่างสำนักข่าวอิศรากับคณะทำงานที่ ป.ป.ช.ตั้ง (๒๔ ม.ค.๖๐) ไปสืบเสาะข้อมูล "สินบนโรลส์-รอยซ์"
เดี๋ยวก็รู้! หัวข้อที่ ป.ป.ช.มอบให้คณะทำงานไปสืบเสาะ ก็คือ
"กรณีบริษัทโรลส์รอยซ์จ่ายสินบนให้อดีตผู้บริหารและพนักงานบริษัทการบินไทย ในการจัดซื้อเครื่องยนต์เครื่องบินโบอิ้ง 777 รวม ๓ ครั้ง ในช่วงปี พ.ศ.๒๕๓๔-๒๕๔๘ เป็นเงิน ๑,๒๕๓ ล้านบาท
และการจ่ายสินบนของบริษัทโรลส์รอยซ์ เอเนอร์จี ซิสเต็ม ให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่บริษัท ปตท.และบริษัท ปตท.สผ.เป็นเงินกว่า ๓๘๕ ล้านบาท" เห็นหัวข้อปุ๊บ สิ่งแรกที่คิดแว็บ.......
นี่คืออีก ๑ ตัวอย่าง "เนื้อไม่ได้กิน หนังไม่ได้รองนั่ง แต่ต้องเอากระดูกแขวนคอ" คนที่หวังตำแหน่ง-หวังยศ โดยยอมทำทุกอย่างตามเจ้านาย-นักการเมืองสั่ง จงดูเรื่องจำนำข้าว เรื่องสินบนโรลส์-รอยซ์นี้เป็นมรณานุสติ ที่การบินไทย "ผู้บริหารและพนักงาน" ซวยก่อน ที่ ปตท.-ปตท.สผ. "ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่" ซวยก่อน ทั้งที่ทางปฏิบัติเป็นจริง..........คนระดับนี้ มีอำนาจ "ชี้เป็น-ชี้ตาย" ด้วยวงเงินเฉียดแสนล้านเชียวหรือ? "ใช่แน่หรือไม่ใช่" ในความเป็น "ตัวการ" ก็ยังไม่มีหลักฐานชี้ชัด ด้วยตำแหน่งหน้าที่ "รับรู้-ไม่ได้รับรู้" เป็นเรื่องหนึ่ง แต่ด้วยความรับผิดชอบตามตำแหน่งหน้าที่ ถึงไม่ (ได้) รับ ก็ต้องรับ! ไม่ใช่รับเงิน รับฎีกาคุกน่ะ! พูดกันทางกฎหมาย คนนั่งหน้าแป้น คอยเป็นมือ-เป็นตีนให้นักการเมือง เขาให้เซ็นอะไร ก็เซ็นไปทุกอย่างตามสั่ง แลกกับตำแหน่งนั่นน่ะ
คนเซ็น "ซวย" เพราะมีหลักฐาน คนสั่ง "รวย" เพราะไม่เป็นหลักฐาน! ทีนี้มาดูต่อ ถ้าตัวงาบ ไม่ใช่แค่ระดับผู้บริหาร-พนักงานในองค์กรรัฐวิสาหกิจ แล้วมีหลักฐานอะไรเป็นตัวบ่งชี้บ้างมั้ยว่า
"มีใคร-นักการเมืองคนไหน-พวกไหน คือแก๊ง 'ไอ้โม่งแดง' ที่งาบสินบน โรลส์-รอยซ์?" ในสินบน ๓ ครั้ง..... ครั้งที่ ๓ ช่วงปี ๒๕๔๗-๒๕๔๘ ประมาณ ๒๕๔ ล้านบาท ตามเอกสาร ป.ป.ช.อังกฤษ ทีสำนักข่าวอิศราเปิดเผยเป็นจดหมายภายในโรลส์-รอยซ์ ฉบับลงวันที่ ๑๙ พ.ย.๔๗ บันทึกการประชุมร่วมกันระหว่าง นายหน้า ๓ นายหน้าส่วนภูมิภาค และคนในรัฐบาลไทย ระบุบรรยากาศการประชุมครั้งนั้น ว่า “ช่างเป็นการประชุมที่ดีเหลือเกิน การจัดซื้อเครื่องบินรุ่นใหม่ แอร์บัส A 340 และโบอิ้ง 777 กำลังอยู่ในวาระการประชุมของคณะรัฐมนตรีในวันที่ 23 พฤจิกายนนี้ (2547)”
ก็มาดูตามวันที่ระบุ ปรากฏว่า ๒๓ พ.ย.๔๗ เป็นช่วง "รัฐบาลทักษิณ" วันที่ ๒๓ พ.ย.นั้น นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.คมนาคม เป็นผู้ลงนาม เสนอเรื่องขออนุมัติจัดซื้อต่อ ครม. และ ครม.ก็อนุมัติ ด้วยวงเงิน ๙๖,๓๕๕ ล้านบาท
นี่คือฝ่ายการเมือง.........
"การเสนอ-การอนุมัติ" ด้วยมติ ครม.หน้าฉากไม่ใช่คำตอบของคำว่า "สินบน" มันคือนโยบายและการบริหารตะหาก ก็มาดูต่อที่ "ลูกมือการเมือง".......ที่การบินไทย ใครคือผู้บริหารและพนักงานการบินไทยช่วงนั้น ซึ่งต้องมีส่วนรู้เห็นในโครงการจัดซื้อตามหน้าที่ ตามนัยที่ ป.ป.ช.ตั้งคณะ-ตั้งประเด็น-ตั้งธง สืบสวน-รวบรวมข้อมูล ก็ปรากฏว่า ช่วง มิ.ย.๔๕-มี.ค.๔๘...........
นายทนง พิทยะ เป็นประธานบอร์ดการบินไทย
นายกนก อภิรดี เป็นผู้อำนวยการใหญ่การบินไทย
เหล่านี้คือบุคคลที่มีตำแหน่งหน้าที่ ต้องรู้-ต้องเห็น-ต้องเซ็น-ต้องเสนอ-ต้องรับผิดชอบ ในการจัดซื้อเครื่องบินรุ่นใหม่ แอร์บัส A 340 และโบอิ้ง 777 ที่ใช้ "เครื่องยนต์สินบน" โรลส์-รอยซ์!
เอาล่ะ ก็จบไปภาคหนึ่ง ทีนี้มาดูต่อ นอกจากตัวละครในภาคแรกแล้ว ยังมีตัวละคร "แคบและชัด" ลงไปอีกชั้นหนึ่ง ว่านี่แหละ
แก๊ง "โม่งแดง" ตัวจริง ปรากฏร่างหรุบหรู่อยู่ใต้เงาจันทร์ที่สาดแสงโลมหล้า!
ตามหลักฐานที่สำนักข่าวอิศราตีแผ่
๔ ธ.ค.๔๗ ...........
อีเมล์ภายในของโรลส์-รอยซ์อีกฉบับระบุ คำสั่งซื้อ/ออร์เดอร์ของการบินไทย ได้รับการอนุมัติแล้ว Calls between [certain Thai Government ministers and a Thai Airways employee] yada, allpositive. Airline still not heard the good word yet and not clear if POs signed. [Intermediary 3 and the Regional Intermediary] have commitment from [the Thai Government deputy minister whom they had met] that it will be sorted by tomorrow.
"มีสายตรงระหว่าง (รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐบาลไทยกับพนักงานการบินไทย) เป็นไปด้วยดี ทางสายการบินยังไม่ได้รับทราบข่าวดีใดๆ และยังไม่มีท่าทีแน่ชัดถึงการเซ็นสัญญา POs (นายหน้า 3 รวมทั้งนายหน้าส่วนภูมิภาค) ได้รับคำมั่นสัญญาจากรัฐมนตรีช่วยว่าการของรัฐบาลไทย ซึ่งพวกเขาได้พบก่อนหน้านี้ ว่าเรื่องราวดังกล่าวจะถูกไล่เลียงความชัดเจนภายในวันรุ่งขึ้น"
ท้ายอีเมล์มีข้อความด้วยว่า.............
"WARNING:-[the Regional Intermediary and Intermediary 3] have dinner with [the Thai Government deputy minister whom they had met] on 18th Dec and hence [the Regional Intermediary] may suddenly decide to support [Intermediary 3]'s request." […] "we should be firm in my view. Comments?"
"นายหน้าส่วนภูมิภาค กับคนกลาง 3 ได้ร่วมรับประทานอาหารค่ำด้วยกันในวันที่ 18 ธ.ค.กับรัฐมนตรีช่วยว่าการของรัฐบาลไทยคนหนึ่ง ที่เคยพบกันมาก่อน และถ้าเป็นอย่างนั้น นายหน้าส่วนภูมิภาคอาจตัดสินใจกะทันหันเพื่อสนับสนุนคำขอของนายหน้า 3 ก็ได้ '[ ]' พวกเราควรทำตามข้อเสนอ คิดเห็นว่ายังไง?”
นั่นแน่.......
ไอ้โม่งแดง คือ "รัฐมนตรีช่วย" ที่เป็นตัวการ "หางโผล่" แล้วไง!
แล้วมันใคร คือ "รัฐมนตรีช่วย" ที่ร่วมยัดทานอาหารค่ำ เมื่อ ๑๘ ธ.ค.๔๗ เพราะรัฐมนตรีช่วยรัฐบาลทักษิณมีเต็มกระโถน
ใจเย็นๆ "รัฐบาลทักษิณ" ระหว่าง ม.ค.๔๔-ม.ค.๔๘ "คลัง-คมนาคม" ใคร-เป็นใครบ้างล่ะ ก็มาดูกัน
-๑๗ ก.พ.๔๔ ครม.ชุดแรก
"คมนาคม" นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น รมว. นายประชา มาลีนนท์ และนายพงศกร เลาหวิเชียร เป็น รมช.
"คลัง" นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็น รมว. นายวราเทพ รัตนากร และร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ เป็น รมช.
-๓ ต.ค.๔๕
คลัง:นายสมคิด-นายวราเทพ-ร้อยเอก สุชาติ เหมือนเดิม
"คมนาคม" เปลี่ยนยกชุด เป็น..........
นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.นายพิเชษฐ สถิรชวาล นายนิกร จำนง เป็น รมช.
-๘ ก.พ.๔๖
"คลัง" ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ เป็น รมว.
นายสมคิด โยกไปเป็น "รองนายกฯ"
นายวราเทพ รัตนากร ยังคงเป็น รมช.
-๘ พ.ย.๔๖
"คลัง" ยังคงเป็น ร้อยเอกสุชาติ รมว. และนายวราเทพ รมช.
"คมนาคม" นายสุริยะ รมว.คงเดิม
"นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี" เข้ามาเป็น รมช.แทนนายพิเชษฐ
-๑๐ มี.ค.๔๗
"คลัง" สมคิด กลับมาเป็น รมว. สุชาติ ไปเป็นรองนายกฯ
วราเทพ รัตนากร ยังอยู่ในตำแหน่ง รมช.เหนียวแน่น
"คมนาคม" นายสุริยะ รมว. และนายวิเชษฐ์ เป็น รมช.ตามเดิมครับ...
ทีมรัฐมนตรีคลัง นายสมคิด รมว. นายวราเทพ รมช. และทีมคมนาคม นายสุริยะ รมว. นายวิเชษฐ์ รมช. จนสิ้นเทอมรัฐบาลทักษิณ เมื่อ ๖ ม.ค.๔๘
ก็จะเห็นว่า "รัฐมนตรีช่วยว่าการ" ในกระทรวงหลัก มี ๒ รมช.คือ
"นายวราเทพ รัตนากร" รัฐมนตรีช่วยคลัง
"นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี" รัฐมนตรีช่วยคมนาคม
ทั้ง ๒ คนนี้ ผมไม่ได้บอกว่าเป็น "รัฐมนตรีช่วย" ตามเอกสารโรลส์-รอยซ์ เพียงแต่บอกว่า ..........
เป็นรัฐมนตรีช่วย ในกระทรวงคลัง-คมนาคม และอยู่ในตำแหน่งตามช่วงเวลานั้นเท่านั้น
ส่วน "รัฐมนตรีช่วย" ที่ไปยัดทานอาหารค่ำกันตามเอกสารโรลส์-รอยซ์ คือใคร-คนไหน ไว้ให้คณะทำงาน ป.ป.ช.หรือ สตง.เขาบอกเอง!
แต่น่าสนใจนะ ครม.ทักษิณ ๔ ปี ปรับกว่า ๑๓ ครั้ง
มีคนเดียวเป็น "รัฐมนตรีช่วย" ไม่ขยับเขยื้อนไปไหนเลย คือ "นายวราเทพ รัตนากร" ในตำแหน่ง รมช.คลัง
กระทั่งรัฐบาลทักษิณ ๒ ปี ๒๕๔๘
๑๑ มี.ค.๔๘ ตั้ง ครม.ปุ๊บ ชื่อแรกเห็นปั๊บ "นายวราเทพ รัตนากร" รัฐมนตรีช่วยว่าการคลัง!?
อะไรจะ "ดี-เด่น-ดัง" ผลงานเข้าตานายใหญ่-นายหญิง ผูกขาดเก้าอี้ รมช.คลังได้นิรันดร์กาลขนาดนั้น!
สมคิด-สุริยะซะอีก เมื่อเสร็จกิจ ตามติดมาเป็น รมว.คลัง-รมว.คมนาคมได้ ๕ เดือน ก็ย้าย
สมคิดไปพาณิชย์ แล้วให้ "นายทนง พิทยะ" จากประธานบอร์ดการบินไทย รับโบนัสเป็นรัฐมนตรีคลัง
สุริยะไปอุตสาหกรรม นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล มาเป็น รมว.คมนาคมแทน
"วราเทพ รมช.คลัง" คนเดียวจริงๆ สถิตเป็น "นางกวัก" ประจำไทยรักไทยของนายใหญ่-นายหญิง
เกิดกับรัฐบาลทักษิณ เมื่อ ๑๗ ก.พ.๔๔ อยู่ในตำแหน่งจนตายพร้อมรัฐบาลทักษิณ ๒ ที่ถูกบิ๊กบังปฏิวัติ ๑๙ ก.ย.๔๙
ก็จบด้วยคำถามประจำวัน..........
ใครเอ่ย....รับประทานอาหารค่ำด้วยกันเมื่อวันที่ ๑๘ ธ.ค.๔๗ กับแก๊งสินบนโรลส์-รอยซ์? "สำนักข่าวอิศรา" เขาทำหน้าที่สื่อ "สืบเสาะข้อมูล" ได้เก่งนะ!แต่ใครเก่งกว่าใคร .......?
ระหว่างสำนักข่าวอิศรากับคณะทำงานที่ ป.ป.ช.ตั้ง (๒๔ ม.ค.๖๐) ไปสืบเสาะข้อมูล "สินบนโรลส์-รอยซ์"
เดี๋ยวก็รู้! หัวข้อที่ ป.ป.ช.มอบให้คณะทำงานไปสืบเสาะ ก็คือ
"กรณีบริษัทโรลส์รอยซ์จ่ายสินบนให้อดีตผู้บริหารและพนักงานบริษัทการบินไทย ในการจัดซื้อเครื่องยนต์เครื่องบินโบอิ้ง 777 รวม ๓ ครั้ง ในช่วงปี พ.ศ.๒๕๓๔-๒๕๔๘ เป็นเงิน ๑,๒๕๓ ล้านบาท
และการจ่ายสินบนของบริษัทโรลส์รอยซ์ เอเนอร์จี ซิสเต็ม ให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่บริษัท ปตท.และบริษัท ปตท.สผ.เป็นเงินกว่า ๓๘๕ ล้านบาท" เห็นหัวข้อปุ๊บ สิ่งแรกที่คิดแว็บ.......
นี่คืออีก ๑ ตัวอย่าง "เนื้อไม่ได้กิน หนังไม่ได้รองนั่ง แต่ต้องเอากระดูกแขวนคอ" คนที่หวังตำแหน่ง-หวังยศ โดยยอมทำทุกอย่างตามเจ้านาย-นักการเมืองสั่ง จงดูเรื่องจำนำข้าว เรื่องสินบนโรลส์-รอยซ์นี้เป็นมรณานุสติ ที่การบินไทย "ผู้บริหารและพนักงาน" ซวยก่อน ที่ ปตท.-ปตท.สผ. "ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่" ซวยก่อน ทั้งที่ทางปฏิบัติเป็นจริง..........คนระดับนี้ มีอำนาจ "ชี้เป็น-ชี้ตาย" ด้วยวงเงินเฉียดแสนล้านเชียวหรือ? "ใช่แน่หรือไม่ใช่" ในความเป็น "ตัวการ" ก็ยังไม่มีหลักฐานชี้ชัด ด้วยตำแหน่งหน้าที่ "รับรู้-ไม่ได้รับรู้" เป็นเรื่องหนึ่ง แต่ด้วยความรับผิดชอบตามตำแหน่งหน้าที่ ถึงไม่ (ได้) รับ ก็ต้องรับ! ไม่ใช่รับเงิน รับฎีกาคุกน่ะ! พูดกันทางกฎหมาย คนนั่งหน้าแป้น คอยเป็นมือ-เป็นตีนให้นักการเมือง เขาให้เซ็นอะไร ก็เซ็นไปทุกอย่างตามสั่ง แลกกับตำแหน่งนั่นน่ะ
คนเซ็น "ซวย" เพราะมีหลักฐาน คนสั่ง "รวย" เพราะไม่เป็นหลักฐาน! ทีนี้มาดูต่อ ถ้าตัวงาบ ไม่ใช่แค่ระดับผู้บริหาร-พนักงานในองค์กรรัฐวิสาหกิจ แล้วมีหลักฐานอะไรเป็นตัวบ่งชี้บ้างมั้ยว่า
"มีใคร-นักการเมืองคนไหน-พวกไหน คือแก๊ง 'ไอ้โม่งแดง' ที่งาบสินบน โรลส์-รอยซ์?" ในสินบน ๓ ครั้ง..... ครั้งที่ ๓ ช่วงปี ๒๕๔๗-๒๕๔๘ ประมาณ ๒๕๔ ล้านบาท ตามเอกสาร ป.ป.ช.อังกฤษ ทีสำนักข่าวอิศราเปิดเผยเป็นจดหมายภายในโรลส์-รอยซ์ ฉบับลงวันที่ ๑๙ พ.ย.๔๗ บันทึกการประชุมร่วมกันระหว่าง นายหน้า ๓ นายหน้าส่วนภูมิภาค และคนในรัฐบาลไทย ระบุบรรยากาศการประชุมครั้งนั้น ว่า “ช่างเป็นการประชุมที่ดีเหลือเกิน การจัดซื้อเครื่องบินรุ่นใหม่ แอร์บัส A 340 และโบอิ้ง 777 กำลังอยู่ในวาระการประชุมของคณะรัฐมนตรีในวันที่ 23 พฤจิกายนนี้ (2547)”
ก็มาดูตามวันที่ระบุ ปรากฏว่า ๒๓ พ.ย.๔๗ เป็นช่วง "รัฐบาลทักษิณ" วันที่ ๒๓ พ.ย.นั้น นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.คมนาคม เป็นผู้ลงนาม เสนอเรื่องขออนุมัติจัดซื้อต่อ ครม. และ ครม.ก็อนุมัติ ด้วยวงเงิน ๙๖,๓๕๕ ล้านบาท
นี่คือฝ่ายการเมือง.........
"การเสนอ-การอนุมัติ" ด้วยมติ ครม.หน้าฉากไม่ใช่คำตอบของคำว่า "สินบน" มันคือนโยบายและการบริหารตะหาก ก็มาดูต่อที่ "ลูกมือการเมือง".......ที่การบินไทย ใครคือผู้บริหารและพนักงานการบินไทยช่วงนั้น ซึ่งต้องมีส่วนรู้เห็นในโครงการจัดซื้อตามหน้าที่ ตามนัยที่ ป.ป.ช.ตั้งคณะ-ตั้งประเด็น-ตั้งธง สืบสวน-รวบรวมข้อมูล ก็ปรากฏว่า ช่วง มิ.ย.๔๕-มี.ค.๔๘...........
นายทนง พิทยะ เป็นประธานบอร์ดการบินไทย
นายกนก อภิรดี เป็นผู้อำนวยการใหญ่การบินไทย
เหล่านี้คือบุคคลที่มีตำแหน่งหน้าที่ ต้องรู้-ต้องเห็น-ต้องเซ็น-ต้องเสนอ-ต้องรับผิดชอบ ในการจัดซื้อเครื่องบินรุ่นใหม่ แอร์บัส A 340 และโบอิ้ง 777 ที่ใช้ "เครื่องยนต์สินบน" โรลส์-รอยซ์!
เอาล่ะ ก็จบไปภาคหนึ่ง ทีนี้มาดูต่อ นอกจากตัวละครในภาคแรกแล้ว ยังมีตัวละคร "แคบและชัด" ลงไปอีกชั้นหนึ่ง ว่านี่แหละ
แก๊ง "โม่งแดง" ตัวจริง ปรากฏร่างหรุบหรู่อยู่ใต้เงาจันทร์ที่สาดแสงโลมหล้า!
ตามหลักฐานที่สำนักข่าวอิศราตีแผ่
๔ ธ.ค.๔๗ ...........
อีเมล์ภายในของโรลส์-รอยซ์อีกฉบับระบุ คำสั่งซื้อ/ออร์เดอร์ของการบินไทย ได้รับการอนุมัติแล้ว Calls between [certain Thai Government ministers and a Thai Airways employee] yada, allpositive. Airline still not heard the good word yet and not clear if POs signed. [Intermediary 3 and the Regional Intermediary] have commitment from [the Thai Government deputy minister whom they had met] that it will be sorted by tomorrow.
"มีสายตรงระหว่าง (รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐบาลไทยกับพนักงานการบินไทย) เป็นไปด้วยดี ทางสายการบินยังไม่ได้รับทราบข่าวดีใดๆ และยังไม่มีท่าทีแน่ชัดถึงการเซ็นสัญญา POs (นายหน้า 3 รวมทั้งนายหน้าส่วนภูมิภาค) ได้รับคำมั่นสัญญาจากรัฐมนตรีช่วยว่าการของรัฐบาลไทย ซึ่งพวกเขาได้พบก่อนหน้านี้ ว่าเรื่องราวดังกล่าวจะถูกไล่เลียงความชัดเจนภายในวันรุ่งขึ้น"
ท้ายอีเมล์มีข้อความด้วยว่า.............
"WARNING:-[the Regional Intermediary and Intermediary 3] have dinner with [the Thai Government deputy minister whom they had met] on 18th Dec and hence [the Regional Intermediary] may suddenly decide to support [Intermediary 3]'s request." […] "we should be firm in my view. Comments?"
"นายหน้าส่วนภูมิภาค กับคนกลาง 3 ได้ร่วมรับประทานอาหารค่ำด้วยกันในวันที่ 18 ธ.ค.กับรัฐมนตรีช่วยว่าการของรัฐบาลไทยคนหนึ่ง ที่เคยพบกันมาก่อน และถ้าเป็นอย่างนั้น นายหน้าส่วนภูมิภาคอาจตัดสินใจกะทันหันเพื่อสนับสนุนคำขอของนายหน้า 3 ก็ได้ '[ ]' พวกเราควรทำตามข้อเสนอ คิดเห็นว่ายังไง?”
นั่นแน่.......
ไอ้โม่งแดง คือ "รัฐมนตรีช่วย" ที่เป็นตัวการ "หางโผล่" แล้วไง!
แล้วมันใคร คือ "รัฐมนตรีช่วย" ที่ร่วมยัดทานอาหารค่ำ เมื่อ ๑๘ ธ.ค.๔๗ เพราะรัฐมนตรีช่วยรัฐบาลทักษิณมีเต็มกระโถน
ใจเย็นๆ "รัฐบาลทักษิณ" ระหว่าง ม.ค.๔๔-ม.ค.๔๘ "คลัง-คมนาคม" ใคร-เป็นใครบ้างล่ะ ก็มาดูกัน
-๑๗ ก.พ.๔๔ ครม.ชุดแรก
"คมนาคม" นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น รมว. นายประชา มาลีนนท์ และนายพงศกร เลาหวิเชียร เป็น รมช.
"คลัง" นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็น รมว. นายวราเทพ รัตนากร และร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ เป็น รมช.
-๓ ต.ค.๔๕
คลัง:นายสมคิด-นายวราเทพ-ร้อยเอก สุชาติ เหมือนเดิม
"คมนาคม" เปลี่ยนยกชุด เป็น..........
นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.นายพิเชษฐ สถิรชวาล นายนิกร จำนง เป็น รมช.
-๘ ก.พ.๔๖
"คลัง" ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ เป็น รมว.
นายสมคิด โยกไปเป็น "รองนายกฯ"
นายวราเทพ รัตนากร ยังคงเป็น รมช.
-๘ พ.ย.๔๖
"คลัง" ยังคงเป็น ร้อยเอกสุชาติ รมว. และนายวราเทพ รมช.
"คมนาคม" นายสุริยะ รมว.คงเดิม
"นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี" เข้ามาเป็น รมช.แทนนายพิเชษฐ
-๑๐ มี.ค.๔๗
"คลัง" สมคิด กลับมาเป็น รมว. สุชาติ ไปเป็นรองนายกฯ
วราเทพ รัตนากร ยังอยู่ในตำแหน่ง รมช.เหนียวแน่น
"คมนาคม" นายสุริยะ รมว. และนายวิเชษฐ์ เป็น รมช.ตามเดิมครับ...
ทีมรัฐมนตรีคลัง นายสมคิด รมว. นายวราเทพ รมช. และทีมคมนาคม นายสุริยะ รมว. นายวิเชษฐ์ รมช. จนสิ้นเทอมรัฐบาลทักษิณ เมื่อ ๖ ม.ค.๔๘
ก็จะเห็นว่า "รัฐมนตรีช่วยว่าการ" ในกระทรวงหลัก มี ๒ รมช.คือ
"นายวราเทพ รัตนากร" รัฐมนตรีช่วยคลัง
"นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี" รัฐมนตรีช่วยคมนาคม
ทั้ง ๒ คนนี้ ผมไม่ได้บอกว่าเป็น "รัฐมนตรีช่วย" ตามเอกสารโรลส์-รอยซ์ เพียงแต่บอกว่า ..........
เป็นรัฐมนตรีช่วย ในกระทรวงคลัง-คมนาคม และอยู่ในตำแหน่งตามช่วงเวลานั้นเท่านั้น
ส่วน "รัฐมนตรีช่วย" ที่ไปยัดทานอาหารค่ำกันตามเอกสารโรลส์-รอยซ์ คือใคร-คนไหน ไว้ให้คณะทำงาน ป.ป.ช.หรือ สตง.เขาบอกเอง!
แต่น่าสนใจนะ ครม.ทักษิณ ๔ ปี ปรับกว่า ๑๓ ครั้ง
มีคนเดียวเป็น "รัฐมนตรีช่วย" ไม่ขยับเขยื้อนไปไหนเลย คือ "นายวราเทพ รัตนากร" ในตำแหน่ง รมช.คลัง
กระทั่งรัฐบาลทักษิณ ๒ ปี ๒๕๔๘
๑๑ มี.ค.๔๘ ตั้ง ครม.ปุ๊บ ชื่อแรกเห็นปั๊บ "นายวราเทพ รัตนากร" รัฐมนตรีช่วยว่าการคลัง!?
อะไรจะ "ดี-เด่น-ดัง" ผลงานเข้าตานายใหญ่-นายหญิง ผูกขาดเก้าอี้ รมช.คลังได้นิรันดร์กาลขนาดนั้น!
สมคิด-สุริยะซะอีก เมื่อเสร็จกิจ ตามติดมาเป็น รมว.คลัง-รมว.คมนาคมได้ ๕ เดือน ก็ย้าย
สมคิดไปพาณิชย์ แล้วให้ "นายทนง พิทยะ" จากประธานบอร์ดการบินไทย รับโบนัสเป็นรัฐมนตรีคลัง
สุริยะไปอุตสาหกรรม นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล มาเป็น รมว.คมนาคมแทน
"วราเทพ รมช.คลัง" คนเดียวจริงๆ สถิตเป็น "นางกวัก" ประจำไทยรักไทยของนายใหญ่-นายหญิง
เกิดกับรัฐบาลทักษิณ เมื่อ ๑๗ ก.พ.๔๔ อยู่ในตำแหน่งจนตายพร้อมรัฐบาลทักษิณ ๒ ที่ถูกบิ๊กบังปฏิวัติ ๑๙ ก.ย.๔๙
ก็จบด้วยคำถามประจำวัน..........
ใครเอ่ย....รับประทานอาหารค่ำด้วยกันเมื่อวันที่ ๑๘ ธ.ค.๔๗ กับแก๊งสินบนโรลส์-รอยซ์?

 

ติดตามรายละเอียดได้ที่ สินบน RollsRoyceแค่ผักชีโรยหน้า???"เปลวสีเงิน"ฟันธง"ลงน้ำเจอเข้ ขึ้นบกเจอเห้"สมควรแก่เวลาตั้ง "คณะกรรมการแห่งชาติ"ตรวจสอบเป็นวาระแห่งชาติ http://headshot.tnews.co.th/contents/td/221854/

ใครนะไปกินข้าวกับโรลส์-รอยซ์?? ตอนนั้นมี 2 คนนี้เป็นรัฐมนตรีช่วย (มีคลิป) ใครนะไปกินข้าวกับโรลส์-รอยซ์?? ตอนนั้นมี 2 คนนี้เป็นรัฐมนตรีช่วย (มีคลิป)

 

อัจฉรา สำนักข่าวทีนิวส์