ติดตามข่าวสารได้ที่ www.gninternews.com

สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานข่าว เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2561 กรณีทางด้าน นักวิทยาศาสตร์ออสเตรเลีย ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อที่จะได้ระบุตำแหน่ง จุดตกของเครื่องบินโดยสารโบอิ้ง 777 เที่ยวบินที่ MH370 ของสายการบินมาเลเซีย แอร์ไลน์  ที่ได้หายสาบสูญ ไปพร้อมด้วยผู้โดยสาร และลูกเรือจำนวน 239 คน ตั้งแต่เดือนมีนาคม ปี 2557  ได้เริ่มต้นขึ้นอีกครั้งเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2561
 

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
 

การเริ่มต้นครั้งนี้ได้มีบริษัท โอเชียน อินฟินิตี (Ocean Infinity) ของสหรัฐฯ เข้ามารับหน้าที่คลี่คลายปริศนาทางการบินครั้งใหญ่นี้ โดยที่ผ่านมานั้นทางด้านการค้นหา ซึ่งมีทีมค้นหาของออสเตรเลีย ร่วมกับนานาประเทศ ได้ทำการค้นหาทั่วบริเวณ 120,000 ตารางกิโลเมตรในมหาสมุทรอินเดียทางตอนใต้ เป็นระยะเวลา 28 เดือน แต่ก็ต้องคว้าน้ำเหลว จนกระทั้งได้ยอมที่จะประกาศถอนทัพการค้นหาออกไปเมื่อเดือนมกราคม 2560

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

สำหรับการเริ่มต้นใหม่ในครั้งนี้ ทางด้าน เดวิด กริฟฟิน นักสมุทรศาสตร์จากองค์การวิจัยวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมแห่งเครือจักรภพ ได้ให้สัมภาษณ์กับผู้สื่อข่าวว่า หวังว่า จะมีการพบซากเครื่องบิน MH370 ภายในหนึ่งเดือนแรก ที่เริ่มต้นค้นหา ซึ่งทางมาเลเซีย ได้ให้เวลา บริษัทดังกล่าว 3 เดือน และ ภารกิจได้เริ่มต้นขึ้นเรียบร้อยแล้ว ซึ่งทางด้านรัฐบาลมาเลเซีย ได้ให้ค่าจ้างสำหรับการค้นหาครั้งนี้ ถึง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ทว่ามีเงื่อนไข ถ้าหากไม่เจอ ก็จะไม่มีการจ่ายเงินค่าจ้างดังกล่าว

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

 

ทางบริษัทค้นหา ได้ทำการวิเคราะห์ผลการค้นหาครั้งแรก และ ใช้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ตลอดเวลา 4 ปี ที่ผ่านมา เข้ามาช่วยก่อนที่จะทำการส่งเรือ ซีเบด คอนสตรัคเตอร์ ออกไปค้นหาจุดแรก ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งเมืองเพิร์ทไปทางตะวันตกเฉียงใต้ราว 2,000 กิโลเมตร

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

จุดดังกล่าวอยู่ค่อนมาทางเหนือของพื้นที่ค้นหาเดิม และใกล้กับเส้นโค้งที่ 7 ซึ่งเป็นจุดที่ MH370 ส่งสัญญาณดาวเทียมเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนจะหายไปจากจอเรดาร์

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

 

นอกจากนั้นแล้วทางทีมค้นหาชุดใหม่นี้ ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล พื้นที่ทางตอนเหนือของพื้นที่ค้นหาเดิม จำนวน 25,000 ตารางกิโลเมตร ด้วยการจำลองการไหลของกระแสน้ำ ประกอบการพบชิ้นส่วนอย่างน้อย 3 ชิ้นของ MH370 ว่าชิ้นส่วนเหล่านั้นจะลอยมาจากทิศทางใด

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

 

หลังจากที่มีการการวิเคราะห์ กันแล้ว มีการบีบพื้นที่การค้นหาให้แคบลงพบว่าการไหลของกระแสน้ำไปสอดคล้องกับภาพถ่ายดาวเทียมของฝรั่งเศส ที่พบสิ่งของอย่างน้อย 70 ชิ้น ลอยอยู่กลางทะเล แม้ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นของ M370 แต่นักวิเคราะห์เชื่อว่าไม่ใช่เรื่องปกติที่จะมีชิ้นส่วนใด ๆ หรือขยะใด ๆ จำนวนมาก ลอยมากองรวมกัน จนทำให้ดาวเทียมสามารถจับภาพได้ โดยเฉพาะบางชิ้นนั้นมีขนาดใหญ่มาก ซึ่งนักวิเคราะห์เชื่อว่า เครื่องบินอาจจะตกบริเวณเส้นขนานที่ 35.6S 92.8E

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

 

ขณะที่ทางทีมค้นหา ที่ได้ส่ง เรือ ซีเบด คอนสตรัคเตอร์ ออกไปนั้นมีการติดตั้งโดรนใต้ทะเล 8 ตัว พร้อมด้วยอุปกรณ์โซนาร์และกล้องถ่ายภาพ สามารถปฏิบัติภารกิจที่ความลึกสูงสุด 6,000 เมตร และเนื่องจากเป็นโดรนไร้สาย จึงสามารถลงไปได้ลึกและเก็บข้อมูลได้ละเอียดกว่าโดรนที่ใช้ในการค้นหาครั้งก่อนๆ

 

ลุ้นเปิดปมปริศนา MH370 หายสาบสูญ กว่า 4 ปี กับภารกิจทีมค้นหาจากสหรัฐฯ เชื่อต่อจากนี้ 1 เดือนพบซาก รับค่าจ้าง 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ