ติดตามข่าวสารได้ที่ www.tnews.co.th

หลวงปู่คำมีความใกล้ชิดกับเจ้าประคุณสมเด็จฯโต วัดระฆังโฆษิตาราม เจ้าประคุณสมเด็จฯโต เรียกท่านว่าหลวงพี่ ท่านไปช่วยเจ้าประคุณสมเด็จฯโตทำพระสมเด็จอยู่เสมอ เมื่อเจ้าประคุณสมเด็จฯโตมรณภาพแล้ว หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ จึงรวบรวมพิมพ์พระต่างๆ ของหลวงปู่โต แล้วทำการบันทึกย่อสั้น ๆ ไว้ มีใจความว่า

…………“พ่อโตบวชพระเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๐ เกิด ชาตะ ๒๓๓๐ บวชพระ ๖๕ พรรษา มรณะ ๒๔๑๕ บวชเณร ๘ พรรษา บวชตั้งแต่เป็นเณร พ.ศ.๒๓๔๒”

 

 

เป็นบุญตาที่สุดหลักฐานล้ำค่า!! เอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์พระเครื่อง!!บันทึก "หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์"ภิกษุผู้ช่วยสมเด็จโต สร้างพระสมเด็จ

สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี

 

 

เป็นบุญตาที่สุดหลักฐานล้ำค่า!! เอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์พระเครื่อง!!บันทึก "หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์"ภิกษุผู้ช่วยสมเด็จโต สร้างพระสมเด็จ

สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี

 

เป็นบุญตาที่สุดหลักฐานล้ำค่า!! เอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์พระเครื่อง!!บันทึก "หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์"ภิกษุผู้ช่วยสมเด็จโต สร้างพระสมเด็จ

บันทึกหลักฐาน

 

 

ตัวอักษรดำใหญ่เป็นบันทึกเพิ่มเติมภายหลังว่า

 “แต่เป็นบันทึกของหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ เขียนไว้ถี่ถ้วน เป็นที่เชื่อได้ เป็นประวัติอันแท้จริงของขรัวโตวัดระฆัง แล้วมาลอกต่อเมื่อหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ ได้มรณภาพ ไปแล้ว ๔ ปี ในราว พ.ศ.๒๔๒๕ แล้วบันทึกนี้ตกอยู่ที่พระครูปลัดมิศร์ และนายพึ่ง ลูกนายเหลี่ยมบ้านช่างหล่อ ได้ไปขอปลัดมิศร์มาลอกเอาไว้ในราว ๒๔๓๙ แล้วนายจอม องค์ช่างหล่อ มาลอกครั้งสุดท้ายเมื่อ ๒๔๒๕

 

 

เป็นบุญตาที่สุดหลักฐานล้ำค่า!! เอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์พระเครื่อง!!บันทึก "หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์"ภิกษุผู้ช่วยสมเด็จโต สร้างพระสมเด็จ

สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี

 

 

นายจอมเป็นหัวหน้ากองโรงกษาปณ์ ได้ลอกมาจากบ้านช่างหล่อ หลังวัดระฆัง เป็นหลานนายพึ่ง ปฏิมาประกร เคยเป็นเจ้ากรมกษาปณ์หรือช่างสิบหมู่สมัยนั้น ต่อมา หลานนายจอมได้ลอกมาไว้เป็นครั้งสุดท้าย พระคุณท่านได้เป็นพระวิปัสสนาสูง จะหาพระองค์ใดมาเปรียบมิได้”

 

 

เป็นบุญตาที่สุดหลักฐานล้ำค่า!! เอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์พระเครื่อง!!บันทึก "หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์"ภิกษุผู้ช่วยสมเด็จโต สร้างพระสมเด็จ

พระสมเด็จ

 

 

เป็นบุญตาที่สุดหลักฐานล้ำค่า!! เอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์พระเครื่อง!!บันทึก "หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์"ภิกษุผู้ช่วยสมเด็จโต สร้างพระสมเด็จ

พระสมเด็จ

 

 

 

อีกหน้าเป็นบันทึกของหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ ต่ออีกว่า “พิมพ์พระสมเด็จทรงนิยมที่ชาวบ้านทั่วไปรู้จัก

พิมพ์ที่ ๑ ทรงพระประธาน มี ๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

พิมพ์ที่ ๒ ทรงชายจีวร มี ๑๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๒ พิมพ์

พิมพ์ที่ ๓ อกร่องหูยานฐานแซม มี ๓ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

พิมพ์ที่ ๔ เกศบัวตูม มี ๔ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

พิมพ์ที่ ๕ ปรกโพธิ์มีพิมพ์ที่ไม่แตกมี ๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

 

 

เป็นบุญตาที่สุดหลักฐานล้ำค่า!! เอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์พระเครื่อง!!บันทึก "หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์"ภิกษุผู้ช่วยสมเด็จโต สร้างพระสมเด็จ

พระสมเด็จ

 

 

พิมพ์ที่ ๖ ฐานคู่มีพิมพ์ที่ไม่แตก มี ๓ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

พิมพ์ที่ ๗ เส้นด้าย มี ๑๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๒ พิมพ์

พิมพ์ที่ ๘ สังฆาฏิ มี ๗ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

พิมพ์ที่ ๙ หน้าโหนกอกครุฑ มี ๑๖ พิมพ์ ทั้งพิมพ์ใหญ่

พิมพ์ที่๑๐ พิมพ์ทรงเจดีย์ มี ๒ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

 

 

เป็นบุญตาที่สุดหลักฐานล้ำค่า!! เอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์พระเครื่อง!!บันทึก "หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์"ภิกษุผู้ช่วยสมเด็จโต สร้างพระสมเด็จ

พระสมเด็จ

 

 

เมื่อพระคุณท่านได้มรณภาพแล้ว รวมพิมพ์พระที่ไม่แตกชำรุดได้ ๑๖๔ พิมพ์ เป็นพิมพ์สมเด็จที่นิยมและไม่นิยม ๘๑ พิมพ์ นอกนั้นเป็นพิมพ์พระอย่างอื่นเสีย ๘๓ พิมพ์ แล้วที่แตกหัก ๘ ถาดทองเหลืองเต็ม ๆ และพิมพ์ไกเซอร์ที่เสด็จยุโรป ๓๐๐ องค์ ๆ พิมพ์เป็นพระได้แจกให้พระเจ้าไกเซอ ต่อมาได้ทำพิมพ์เศียรบาตรขึ้นมาแทนพิมพ์ไกเซอ เพราะใครก็อยากได้พิมพ์ไกเซอ เลยเอาพิมพ์เศียรบาตรแทน ต่อมาคนได้เชื่อว่าพิมพ์นี้เป็นพิมพ์ไกเซอ แต่ความจริงไม่ใช่ พิมพ์ไกเซอองค์พระนั่งบนบัว”

 

 

เป็นบุญตาที่สุดหลักฐานล้ำค่า!! เอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์พระเครื่อง!!บันทึก "หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์"ภิกษุผู้ช่วยสมเด็จโต สร้างพระสมเด็จ

สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี

 

 

เนื้อหาจากเอกสารในภาพถ่าย คัดลอกมาได้เพียงเท่านี้

ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์โต

 "สมเด็จพระ พุฒาจารย์" ชาวบ้านทั่ว ๆ ไปเรียกกันว่า "สมเด็จพุฒาจารย์โต วัดระฆัง" เรียกไปเรียกมา เหลือเพียง "สมเด็จโต" ในทีสุด ขณะที่โปรดเกล้าฯ เป็นสมเด็จนั้น มีอายุได้ ๗๘ ปี อายุ พรรษาได้ ๕๖ พรรษาแล้ว


•มรณภาพ สมเด็จโต จะอาพาธด้วยโรคอะไรไม่ปรากฏ มรณภาพเมื่อวันเสาร์ แรม ๒ ค่ำ เดือน๘ (ต้น) ปีวอก จ.ศ. ๑๒๓๔ ตรงกับวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๔๑๕ เวลาประมาณ ๒๔.๐๐ น.เศษ บนศาลา ใหญ่วัดอินวรวิหาร บางขุนพรหม

 

 


สรุป สมเด็จโตมีสิริรวมชนมายุของท่านได้ ๘๕ ปี ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม ได้ ๒๐ ปี บริบูรณ์

ดำรงฐานันดรศักดิ์ สมเด็จพระพุฒาจารย์โตมาได้ ๗ ปี เศษ ๖๕ พรรษา สมเด็จโตทรงถวายความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นที่ยิ่ง ไม่ว่าจะเป็นทางตรงและทางอ้อมทุกประการ

 

 

ขอขอบพระคุณท่านเจ้าของภาพ เจ้าของบทความ และที่มาเนื้อหาข้อมูล

อ.ทิพย์วารี เพจปาฏิหาริย์