คนไทยควรรู้!! “ไพร่สยาม” สมัย ร.๕ พ่อสั่ง!! “เลิกทาส” โชคดีแค่ไหน?? หลังจากที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของโลก!!

ติดตามข่าวสาร อัพเดทล่าสุดก่อนใคร www.news-lifestyle.com

ทุกวันที่ 1 เมษายน ของทุกปีจะตรงกับ วันเลิกทาสไทย ซึ่งเกิดขึ้นในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงประกาศใช้ ”พระราชบัญญัติเลิกทาส ร.ศ. 124″ และ “พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร รัตนโกสิทร์ศก 124″ เนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น (ร.3) เมืองไทยมีทาสเป็นจำนวนกว่าหนึ่งในสามของพลเมืองของประเทศ เนื่องจากพ่อแม่เป็นทาสแล้ว ลูกที่เกิดจากพ่อแม่ที่เป็นทาสก็ต้องตกเป็นทาสต่อไป ทาสนั้นจะต้องหาเงินมาไถ่ตัวเอง มิฉะนั้นแล้วก็จะต้องเป็นทาสไปตลอดชีวิต เพราะตามกฎหมายถือว่ายังมีค่าตัวอยู่ (ทาสในเรือนเบี้ย)

 

คนไทยควรรู้!! “ไพร่สยาม” สมัย ร.๕ พ่อสั่ง!! “เลิกทาส” โชคดีแค่ไหน?? หลังจากที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของโลก!!

 

ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5) ทรงประกาศ “พระราชบัญญัติพิกัดกระเษียรลูกทาสลูกไทย” เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2417 แก้พิกัดค่าตัวทาสใหม่ โดยให้ลดค่าตัวทาสลงตั้งแต่อายุ 8 ขวบ จนกระทั่งหมดค่าตัวเมื่ออายุได้ 20 ปี เมื่ออายุได้ 21 ปี ผู้นั้นก็จะเป็นอิสระ มีผลกับทาสที่เกิดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 เป็นต้นมา และห้ามมิให้มีการซื้อขายบุคคลที่มีอายุมากกว่า 20 ปี เป็นทาสอีก วันเลิกทาส (1 เมษายน) วันเลิกทาส (1 เมษายน) วันเลิกทาส (1 เมษายน) วันเลิกทาส (1 เมษายน) ประเทศ ไทยมีการใช้ทาสมาเป็นเวลานานเพื่อใช้ทำกิจการต่างๆ ในบ้านเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ที่สูงศักดิ์ พระองค์ทรงใช้ความวิริยะอุตสาหะที่จะทำให้สิ่งเหล่านี้หมดไป ด้วยทรงพระราชดำริกับเสนาบดีและข้าราชการเกี่ยวกับเรื่องทาส พระองค์ทรงคิดหาวิธีปลดปล่อยทาสให้ได้รับความเป็นไท ด้วยวิธีการละมุนละม่อม ทำตามลำดับขั้นตอน ข้าทาสและไพร่ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึ่งหลุดพ้นจากระบบดั้งเดิม ได้กลายเป็นราษฎรสยามและต่างมีโอกาสประกอบอาชีพหลากหลาย

คนไทยควรรู้!! “ไพร่สยาม” สมัย ร.๕ พ่อสั่ง!! “เลิกทาส” โชคดีแค่ไหน?? หลังจากที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของโลก!!

.

.

.

ขอขอบคุณข้อมูล Thairats