คนเป็นตั้งสติ!! เมื่อมีญาติเสียชีวิตต้องทำอะไรบ้างต่อจากนั้นตามกฎหมาย (เกร็ดความรู้) การแจ้งตายที่หลายคนอาจไม่รู้ (รายละเอียด)

คนเป็นตั้งสติ!! เมื่อมีญาติเสียชีวิตต้องทำอะไรบ้างต่อจากนั้นตามกฎหมาย (เกร็ดความรู้) การแจ้งตายที่หลายคนอาจไม่รู้ (รายละเอียด)

    จากกรณีที่มีการสูญเสียญาติหรือคนที่เรารักไป วินาทีนั้นอาจจะมัวแต่เศร้าโศกเสียใจจนทำให้ขาดสติจนอาาจเป็นเหตุนำพาให้ขั้นตอนการฌาปนกิจบางขั้นตอนอาจดำเนิการต่อไม่ได้เพราะขาดเอกสารบางอย่างไป จึงนำเกร็ดความรู้ในลำดับขั้นตอนต่างๆ ซึ่งในการแจ้งตายทั้งในบ้านและโรงพยาบาลและสถานพยาบาลต่างๆนั้นได้แตกต่างกันออกไปซึ่ง เหตุการณืไม่คาดฝันเช่นนี้ไม่มีใครรู้อนาคตได้ ซึ่งมีรายละเอียดต่อไปนี้

การสูญเสียญาติ

การสูญเสียญาติ
 

1. กรณีตายในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลต่างๆเมื่อมีคนเสียชีวิตในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลต่างๆผู้ทำการรักษาผู้นั้นก่อนจะเสียชีวิตจะต้องออกหนังสือรับรองการตายทร 4/1ให้ไว้กับญาติเป็นหลักฐานเพื่อใช้ประกอบในการแจ้งตายโดยบุคคลที่มีหน้าที่ในการแจ้งตายในกรณีนี้ได้แก่1หัวหน้าของโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลนั้นซึ่งอยู่ในฐานะเจ้าบ้านของหน่วยงานแล้วแต่กรณี 2บุคคลที่เจ้าบ้านเราการมอบหมายให้ไปดำเนินการแจ้งการตายแทน
- ระยะเวลาในการแจ้งตายต้องทำการแจ้งภายใน 24 ชั่วโมงนับตั้งแต่เวลาที่บุคคลนั้นเสียชีวิต
สถานที่การแจ้งตายโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่มีคนเสียชีวิตนั้นตั้งอยู่ในเขตในเขตเทศบาลก็ให้แจ้งการตายที่งานทะเบียนของสำนักเทศบาลในท้องที่นั้นๆถ้าโรงพยาบาลสถานพยาบาลมีคนเสียชีวิตนั้นตั้งอยู่นอกเขตของเทศบาลให้แจ้งการตายที่งานเทศบาลของ ณ ที่ว่าการอำเภอในเขตท้องที่ทำนั้น

การสูญเสียญาติ

    - หลักฐานที่ต้องนำไปแสดง
1. ประชาชนของผู้แจ้งการตายของผู้ที่ได้รับมอบหมาย
2. บัตรประจำตัวประชาชนของคนตาย (ถ้ามี)
3. หนังสือรับรองการตาย (ทร ๔/๑) ที่โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลออกให้
4. สำเนาทะเบียนบ้านที่คนตายมีชื่ออยู่ (ถ้ามี)

การสูญเสียญาติ

    -  กรณีคนตายนอกสถานพยาบาล 

1. กรณีคนเสียชีวิตในบ้าน เช่น บ้านของผู้เสียชีวิตเองบ้านของญาติพี่น้องบ้านของเพื่อนบ้านในโรงงานหรือสถานประกอบการต่างๆเป็นต้นบุคคลผู้มีหน้าที่แจ้งการตายได้แก่
เจ้าบ้านของบ้านที่มีคนเสียชีวิต
ผู้พบศพ (กรณีไม่มีเจ้าบ้าน)
บุคคลที่ได้รับมอบหมายในการแจ้งตายแทน

การแจ้งตายกรณีนี้จะต้องแจ้งภายใน 24 ชั่วโมงนับตั้งแต่เวลาตายหรือเวลาพบศพโดยให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
 - ถ้าบ้านที่มีคนติดชีวิตอยู่ในเขตท้องที่ที่ว่าการอำเภอข้อให้แจ้งต่อผู้ใหญ่บ้านประจำหมู่บ้านไม่มีคนเสียชีวิตหรือที่พบศพนั้นโดยผู้ใหญ่บ้านในฐานะนายทะเบียนผู้รับจ้างประจำเบิกหมู่บ้านจะรับแจ้งการตายพร้อมทั้งออกหลักฐานรับการแจ้งตายทร 4 ตอนหน้าให้ไว้เป็นหลักฐานเมื่อได้รับใบรับแจ้งการตายแล้วเช่าบ้านหรือผู้พบศพจะต้องนำหลักฐานดังกล่าวไปแจ้งต่อนายทะเบียนเพื่อขอให้ออกใบมรณบัตรอีกครั้ง
  - ถ้าบ้านที่คนใช้ชีวิตอยู่ในเขตท้องที่ของเทศบาลให้ไปแจ้งการตายที่งานทะเบียนของสำนักงานเขตเทศบาลที่มีคนเสียชีวิตหรือที่พบศพนั้นกรณีนี้จะไม่มีหลักฐานใบรับแจ้งการตาย ท.ร. 4 ตอนหน้า


   - หลักฐานที่ต้องนำไปแสดง
1 บัตรประจำตัวประชาชนของผู้แจ้งการตายหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย 
2 ประจำตัวประชาชนของผู้เสียชีวิต (ถ้ามี)
3 ใบรับการแจ้งตาย (ทร ๔ ตอนหน้า) ที่ผู้ใหญ่บ้านออกให้ (ถ้ามี)
4สำเนาทะเบียนบ้านที่ผู้เสียชีวิตมีชื่ออยู่ (ถ้ามี)
5 พญาบุคคลที่รู้แห่งการตายหรือการพบศพ เช่น เพื่อนบ้าน

2. กรณีคนเสียชีวิตนอกบ้านเช่นตายที่ศาลาพักผู้โดยสารบนรถยนต์ห้างนาตามป่าเขาเป็นต้นผู้ที่มีหน้าที่ต้องแจ้งการตายได้แก่
     1 บุคคลที่ไปพบผู้เสียชีวิตในขณะที่เกิดเหตุ
     2 ผู้พบศพ

การสูญเสียญาติ
    การแจ้งตายกรณีนี้จะต้องทำการแจ้งภายใน 24 ชั่วโมงนับแต่เวลาตายที่เวลาพบศพโดยวิธีการแจ้งการตายและหลักการในการแจ้งตายนั้นให้ใช้เช่นเดียวกับกรณีคนเสียชีวิตในบ้าน

การสูญเสียญาติ

    - การแจ้งตายเกินกำหนดเวลา
เมื่อมีคนเสียชีวิตแล้วไม่ได้มีการแจ้งตายภายใน 24 ชั่วโมงนับตั้งแต่เวลาตายผู้มีชื่อเป็นเจ้าบ้านที่มีคนเสียชีวิตหรือผู้พบศพสามารถไปขอแจ้งไปเกินกำหนดเวลาได้เริ่มจะต้องเสียค่าปรับตามความผิดฐานแจ้งการตายภายในกำหนด

    - การแจ้งตายกรณีพบศพโดยไม่ทราบว่าคนตายเป็นใคร
ผู้พบศพจะต้องทำการแจ้งตายเช่นเดียวกับการเต้นการตายกรณีในบ้านเมื่อนายทะเบียนรับแจ้งแล้วก็ต้องทำการแจ้งไปยังพนักงานฝ่ายปกครองหรือเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อให้ไปทำการชันสูตรพลิกศพตามกฎหมายเสียก่อนเพื่อให้ทราบว่าคุณตาเสียชีวิตด้วยเหตุอันใดเมื่อได้รับแจ้งความเห็นจากพนักงานสอบสวนแล้วจึงจะออกไปตายหรือใบมรณบัตรได้