ผู้มีใจรักหลงใหลในรสชาติกาแฟ..(คอกาแฟ)ไม่ควรพลาด..เคล็ดลับ..”การเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อย”ได้ประโยชน์อีกเพียบ!!

วันนี้ผู้เขียนมีเคล็ดลับ”การเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อย แถมได้ประโยชน์”อย่างมากมาย มาฝากท่านผู้ชมค่ะ รับรองว่ากาแฟแก้วต่อไปของท่านผู้ชมจะมีรสชาติอร่อยลงตัวมากๆและดีมีประโยชน์ต่อสุขภาพอีกด้วยค่ะ เอาล่ะเรามาดูไปพร้อมๆกันเลยค่ะว่าเคล็ดลับที่ว่านี้มีเทคนิคกรรมวิธีในการเติมแต่งรสชาติกาแฟอย่างไรบ้าง..

ผู้มีใจรักหลงใหลในรสชาติกาแฟ..(คอกาแฟ)ไม่ควรพลาด..เคล็ดลับ..”การเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อย”ได้ประโยชน์อีกเพียบ!!

คลิ๊กเพื่ออ่านข่าวอื่นๆเพิ่มเติม..

โอกาสมาแล้ว..ขอให้เฮงๆรวยๆกันถ้วนหน้า!! หมอดูเผย คนเกิด 4 วันต่อไปนี้.. กำลังดวงดี มีเกณฑ์จะมีโชคก้อนโตก่อนปีใหม่นี้ รีบเช็คเลยอาจจะเป็นคุณ!

มาแล้ว..ต้องรีบดู!! เลขเด็ดคนเหนือดวง รวยทันใจ หวยทำมือ ชุดเต็มบน-ล่าง งวด 30 ธ.ค.นี้ เซียนหวยมีลุ้น รีบเช็คแล้วแชร์ส่งต่อความรวยด่วน!! 

กลับมาแล้ว..แผงหวยสะเทือนอีกครั้ง!! หวยทำมือ อ.คมชอบส่วนตัว ชุดสามตัวบน งวดวันที่ 30 ธ.ค. 2560 คอหวยห้ามพลาด ต้องรีบหาซื้อก่อนเกลี้ยงแผง!?!

สำหรับเทคนิคในการเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อยถูกใจได้ประโยชน์สูงดีต่อสุขภาพ ก็คือ แทรกผงอบเชยป่นสักเล็กน้อยในถ้วยกาแฟของเรา ซึ่งได้ประโยชน์ ช่วยให้กาแฟมีกลิ่นหอมค่ะ แต่การดื่มกาแฟนั้นหากว่าเราดื่มมากเกินพิกัดก็อาจจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้นะคะ ควรดื่มในปริมาณที่เหมาะสมและจำกัด ครีมเทียม - นม - น้ำตาลแต่พอดี แต่ถ้าหากจะดื่มเพื่อสุขภาพก็ควรเน้นดื่มเป็น กาแฟดำค่ะ

ผู้มีใจรักหลงใหลในรสชาติกาแฟ..(คอกาแฟ)ไม่ควรพลาด..เคล็ดลับ..”การเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อย”ได้ประโยชน์อีกเพียบ!!

ประโยชน์ของกาแฟช่วยลดความเครียด

เมื่อไม่นานมานี้มีผลวิจัยออกมาว่า ช่วงที่อยู่ในสภาวะความเครียดให้ลองจิบกาแฟสักหน่อย กาแฟจะช่วยลดความเครียด ช่วยผ่อนคลายความเหนื่อยล้า ทำให้เรารู้สึกดีขึ้น และผลงานวิจัยนี้ยังได้ย้ำอีกด้วยว่า คนที่ดื่มกาแฟประมาณ 2-3 แก้วต่อวัน จะลดความเครียดได้ประมาณ 15 % แต่หากดื่มกาแฟ 4 แก้วต่อวัน จะสามารถลดความเครียดได้ถึง 20% เลยทีเดียวค่ะ

ผู้มีใจรักหลงใหลในรสชาติกาแฟ..(คอกาแฟ)ไม่ควรพลาด..เคล็ดลับ..”การเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อย”ได้ประโยชน์อีกเพียบ!!

ประโยชน์ของกาแฟช่วยลดความเสี่ยงเป็นโรคนิ่ว:

ผลการวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ปี 2002 เผยว่า ผู้หญิงที่ดื่มกาแฟ 4 แก้วต่อวัน จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคนิ่วในถุงน้ำดีลดลงประมาณ 25% เช่นเดียวกับผลการวิจัยก่อนหน้านี้ที่บอกว่า ผู้ชายที่ดื่มกาแฟเป็นประจำ จะช่วยลดความเสี่ยงเป็นโรคนิ่วในถุงน้ำดีได้ด้วย ... แต่ถ้าคุณผู้หญิงดื่มกาแฟมากกว่า 1 แก้วต่อวันจะเสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกพรุนนะคะ 

ประโยชน์ของกาแฟช่วยกระตุ้นความจำ

ผลการวิจัยจากภาค รังสีวิทยาของอเมริกา หากดื่มกาแฟ 2 แก้วต่อวัน จะสามารถพัฒนาความจำ และปฏิกิริยาตอบโต้ได้ดีขึ้น สอดคล้องกับการวิจัยของอีกสถาบันหนึ่งที่บอกว่า ผู้หญิงอายุ 65 ปีขึ้นไป หากดื่มกาแฟมากกว่า 3 แก้วต่อวัน จะมีความจำที่ดีขึ้นกว่าคนที่ไม่ได้ดื่มกาแฟ หรือดื่มกาแฟน้อยกว่านี้ แต่ตรงนี้ผู้เขียนขอแนะนำว่าทางที่ดีคือ ควรจะทานแคลเซี่ยมเสริมควบคู่ไปด้วยค่ะ 

ในส่วนของมหาวิทยาลัยเซาท์ฟรอริด้าก็เผยว่า คนอายุล่วงเข้าวัยกลางคน ควรดื่มกาแฟประมาณ 4-5 แก้วต่อวัน เพื่อเพิ่มระดับฮอร์โมน GCSF สารที่ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นอัลไซเมอร์ด้วย 

ประโยชน์ของกาแฟช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2

ผู้มีใจรักหลงใหลในรสชาติกาแฟ..(คอกาแฟ)ไม่ควรพลาด..เคล็ดลับ..”การเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อย”ได้ประโยชน์อีกเพียบ!!

จากการศึกษาของภาคการเกษตรและเคมีอาหารของสหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ที่ดื่มกาแฟประจำนั้นจะไม่จัดอยู่ในประเภทกลุ่มผู้เสี่ยงเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ประมาณ 50% เนื่องจากคาเฟอีนมีคุณสมบัติช่วยยับยั้ง hIAPP และโพลีเปปไทด์ ตัวการก่อให้เกิดโปรตีนผิดปกติ ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ค่ะ

ประโยชน์ของกาแฟช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบเผาผลาญได้ดี

มีผลการวิจัยหลายชิ้น บอกว่า คาเฟอีนช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบเมตาบอลิซึม และอาจจะทำให้น้ำหนักลดลง แต่ล่าสุดผลการวิจัยเมื่อปี 2006 เพิ่งจะได้ข้อสรุปว่า คาเฟอีนในเมล็ดกาแฟสดคั่วบด มีผลกับการลดน้ำหนักในผู้หญิงได้จริง และสามารถลดน้ำหนักเฉลี่ยได้ 7.7 กิโลกรัมภายใน 22 สัปดาห์ 

ผู้มีใจรักหลงใหลในรสชาติกาแฟ..(คอกาแฟ)ไม่ควรพลาด..เคล็ดลับ..”การเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อย”ได้ประโยชน์อีกเพียบ!!

ประโยชน์ของกาแฟช่วยลดความเสี่ยงเป็นโรคมะเร็ง

มีผลการวิจัยหลายชิ้นที่ยืนยันว่า การดื่มกาแฟวันละ 2-5 แก้วต่อวัน จะช่วยลดความเสี่ยงการเกิดเซลล์มะเร็งเต้านม - มะเร็งต่อมลูกหมาก - มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งตับได้ด้วย โดย ประสิทธิภาพของคาเฟอีน จะช่วยยับยั้งการเกิดเซลล์ผิดปกติ และกำจัดสารพิษที่ร่างกายได้รับได้ในระดับหนึ่งค่ะ 

ประโยชน์ของกาแฟช่วยลดความเสี่ยงเป็นโรคพาร์คินสัน

สถาบันการแพทย์อเมริกันได้ทำการวิจัยและพบว่า คาเฟอีนในกาแฟมีส่วนเกี่ยวข้องกับการลดความเสี่ยงเป็นโรคพาคินสัน โดยผู้ที่ดื่มกาแฟวันละ 2-3 แก้วเป็นประจำทุกวันช่วยลดได้ถึง 25% 

ผู้มีใจรักหลงใหลในรสชาติกาแฟ..(คอกาแฟ)ไม่ควรพลาด..เคล็ดลับ..”การเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อย”ได้ประโยชน์อีกเพียบ!!

ประโยชน์ของกาแฟช่วยลดโอกาสเป็นโรคเกาต์

โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป แนะนำให้ดื่มกาแฟประมาณ 3-6 แก้วต่อวันอย่างต่อเนื่อง เพราะผลการวิจัยจากสถาบันสุขภาพแห่งหนึ่งยืนยันชัดเจนแล้วว่า คาเฟอีนมีส่วนช่วยบรรเทาการอักเสบของข้อ คนที่ดื่มกาแฟ 6 แก้วต่อวัน ก็จะช่วยลดความเสี่ยงเป็นโรคเกาต์ได้ถึง 60% 


ประโยชน์ของกาแฟช่วยให้ตื่นตัวได้ในทันที

คาเฟอีนมีคุณสมบัติเหมือนสารกระตุ้นชนิดหนึ่ง ปลุกความตื่นตัวให้กับร่างกายที่อ่อนล้า หรืออ่อนเพลียในระยะเวลาสั้นๆ ยืนยันด้วยการทดลองกับนักกีฬากลุ่มหนึ่ง ซึ่งได้ดื่มกาแฟระหว่างที่ฝึกซ้อม และพบว่า นักกีฬากลุ่มที่ดื่มกาแฟจะสามารถฝึกซ้อมกีฬาได้นานขึ้น แต่ความคึกคักที่เกิดขึ้นนั้นจะมีระยะเวลาประมาณ 1 ชั่วโมงเท่านั้นค่ะ 

 แต่อย่างไรก็ดี เพื่อสุขภาพที่ดี บางท่านทานกาแฟแล้วมีอาการแพ้ เช่น ใจสั่น นอนไม่หลับ ก็ควรเลือกที่จะปรับเปลี่ยนชนิดของกาแฟและปริมาณให้เข้ากับตัวเองนะคะ และต้องไม่ลืมจำกัดส่วนผสมของน้ำตาล นม และครีมเทียมให้พอเหมาะหรือใส่แค่เพียงเล็กๆน้อยๆก็พอค่ะ เพื่อลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพด้านอื่นๆ และควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอรวมทั้งรับประทานอาหารให้ถูกต้องตามหลักทางโภชนาการด้วยค่ะ 

ผู้มีใจรักหลงใหลในรสชาติกาแฟ..(คอกาแฟ)ไม่ควรพลาด..เคล็ดลับ..”การเติมแต่งรสชาติกาแฟให้อร่อย”ได้ประโยชน์อีกเพียบ!!

และทั้งนี้ผู้เขียนใคร่ขอฝากถึงกลุ่มผู้ที่ไม่ควรดื่มกาแฟด้วยค่ะ โดยเฉพาะ ผู้เป็นโรคความดันสูงไม่ควรที่จะดื่มกาแฟโดยเด็ดขาด สำหรับผู้ที่เป็นโรคกระเพาะผู้เขียนก็ไม่แนะนำให้ดื่มกาแฟจะดีกว่าค่ะ แต่ถ้าอดใจไม่ได้จริงๆก็ควรดื่มแต่น้อยเท่านั้น และไม่ควรดื่มกาแฟในขณะท้องว่างนะคะ ควรจะดื่มกาแฟหลังอาหาร จริงๆแล้วผู้หญิงเราก็ไม่ควรดื่มกาแฟเกิน 1 แก้วต่อวัน เพราะผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับเราในอนาคตก็คือจะทำให้เรามีปัญหาเรื่องกระดูกพรุนค่ะ

ขอขอบคุณท่านผู้เป็นเจ้าของเครดิตภาพที่ผู้เขียนได้นำมาจาก (อินเตอร์เน็ต)เพื่อใช้ในการแสดงประกอบเนื้อหาสาระข้อมูลนี้ค่ะ..และขอขอบคุณแหล่งที่มาของภาพและข้อมูลจาก:วิกิพีเดีย, ข้อมูลดีๆจากหมอปรียาภา กำเนิดสิงห์และข้อมูลเพิ่มเติม(บางส่วน)จาก :อินเตอร์เน็ตค่ะ
เรียบเรียงโดย: โชติกา พิรักษา และ ศศิภา ศรีจันทร์ ตันสิทธิ์