เฉลยที่มา! วิถีแห่งการปล่อยแสงของ "หิ่งห้อย"

เฉลยที่มา! วิถีแห่งการปล่อยแสงของ "หิ่งห้อย" ตัวผู้ให้ความสว่างได้มากกว่าตัวเมีย

จากกรณี กลุ่มงานวิจัยกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาป่าไม้ เฉลยที่มาของปรากฏการณ์แสงสว่างในตัว "หิ่งห้อย" ว่ามีที่มาที่ไปเป็นอย่างไร ?

โค้ดส่วนลดลาซาด้า

#รู้หรือไม่...หิ่งห้อย แมลงที่มีแสงสว่างในตัวเอง แล้วหิ่งห้อยทำแสงได้อย่างไร? วันนี้กลุ่มงานวิจัยกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาป่าไม้มีคำตอบมาให้ทุกคนได้ทราบถึงการทำงานของแสงในตัวหิ่งห้อยว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร

หิ่งห้อย

หิ่งห้อย หรือ ทิ้งถ่วง (Fireflies) แมลงที่มีแสงสว่างในตัวเอง อยู่ในวงศ์ Lampyridae ทั่วโลกมีหิ่งห้อยประมาณ 2,000 ชนิด หิ่งห้อย สามารถกะพริบแสงได้ตั้งแต่ช่วงที่เป็นตัวหนอนระยะแรก จนระยะตัวเต็มวัย เพศผู้จะมีอวัยวะทำแสง 2 ปล้อง ส่วนเพศเมียมีเพียง 1 ปล้องเท่

หิ่งห้อย

การทำแสงของหิ่งห้อย เกิดจากกระบวนการทางเคมีของสารลูชิเฟอริน ทำปฏิกิริยากับกับออกซิเจน โดยมีเอนไซน์ลูซิเฟอเรส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทำให้เกิดแสงออกมานั่นเอง

หิ่งห้อย

ขอบคุณที่มา : กลุ่มงานวิจัยกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาป่าไม้

 โค้ดส่วนลดลาซาด้า