หนุ่ม เจอสัตว์เลื้อยคลานประหลาด โผล่บ้านพัก ชาวเน็ตเฉลย ตัวนี้อย่างหลอน

ชาวเน็ตเฉลยแล้ว หลังหนุ่มเจอสัตว์เลื้อยคลานประหลาดในบ้านพัก งานนี้บอกเลยว่า เจ้าตัวนี้หลอนสุด ๆ หนักกว่าจิ้งจก

ขนลุกขนชันกันจริง ๆ กับเจ้าตัวนี้ เมื่อล่าสุดในกลุ่ม นี่ตัวอะไร ได้มีการโพสต์ภาพสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง ซึ่งผู้ใช้เฟซบุ๊กรายนี้ ได้ไปเจอที่ ที่พักที่สิงคโปร์ โดยได้ระบุว่า 

นี่ตัวอะไรครับ พบในบ้านที่พักที่สิงคโปร์ ใจกลางเมืองเลย พยายามมองจิ้งจกก็ไม่ใช่ ตุ๊กแกก็ไม่เชิง

#ถ่ายแบบใช้แฟรตกับไม่ใช้แฟรตนะครับ

หนุ่ม เจอสัตว์เลื้อยคลานประหลาด โผล่บ้านพัก ชาวเน็ตเฉลย ตัวนี้อย่างหลอน

หนุ่ม เจอสัตว์เลื้อยคลานประหลาด โผล่บ้านพัก ชาวเน็ตเฉลย ตัวนี้อย่างหลอน

โดยก็ได้มีผู้รู้เข้ามาตอบว่า 

จิ้งจกน่ากลัวแล้ว ตัวนี้น่ากลัวกว่า300%

- ตัดกลุ่มจิ้งจกตุ๊กแกตุ๊กกายทิ้งเลย ทึ่งความรู้ใหม่กันได้ แต่ไม่ใช่ตัวในโพสต์ครับ

Edit ย้ำอีกครั้ง: "ตัวนี้ไม่ใช่ตุ๊กกายครับ"

- ตัวนี้ brown anole (Anolis sagrei) เป็นชนิดพันธุ์รุกรานของทางสิงคโปร์ แหล่งกระจายพันธุ์ดั้งเดิมอยู่ทางอเมริกา

Edit ย้ำอีกครั้ง: "ตัวนี้คือ anole ครับ"

- เพิ่มเติมว่าเป็นคนละชนิดกับที่บางท่านสืบค้นมาได้ ชนิดที่รุกรานสิงคโปร์เป็น A. sagrei ไม่ใช่ A. cristatellus ครับ

Edit ย้ำอีกครั้ง: "ตัวนี้คือ anole ชนิด Anolis sagrei ครับ"

หนุ่ม เจอสัตว์เลื้อยคลานประหลาด โผล่บ้านพัก ชาวเน็ตเฉลย ตัวนี้อย่างหลอน

Anole สีน้ำตาล (Anolis sagrei) ยังเป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่าเป็น Bahaman Anole หรือเดอลา Sagra ของ Anole , เป็นสายพันธุ์ของจิ้งจกในครอบครัว Dactyloidae สายพันธุ์ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศคิวบาและบาฮามาส มันได้รับการแนะนำให้รู้จักกันอย่างแพร่หลายในที่อื่น ๆ ผ่านทางการนำเข้าและการส่งออกของพืชที่ Anole จะวางไข่ในดินของกระถางและตอนนี้จะพบในฟลอริด้าและทิศตะวันตกเฉียงเหนือในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นทางตอนใต้ของจอร์เจีย , เท็กซัส , หลุยเซีย, มิสซิสซิปปี , แอละแบมา , ฮาวาย , และภาคใต้ของรัฐแคลิฟอร์เนียยังได้รับการแนะนำให้รู้จักกับหมู่เกาะแคริบเบียนอื่น ๆและไต้หวันในเอเชีย

สัตว์ชนิดนี้มีการรุกรานสูง ในช่วงที่เปิดตัวมันมีความหนาแน่นของประชากรสูงเป็นพิเศษสามารถขยายขอบเขตได้อย่างรวดเร็วและทั้งได้ผลและกินกิ้งก่าพื้นเมืองหลายชนิด การนำ anole สีน้ำตาลเข้ามาในสหรัฐอเมริกาในช่วงต้นทศวรรษ 1970 ได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและส่งผลเสียต่อประชากรของชาวพื้นเมืองแคโรไลนาอะโนล (Anolis carolinensisหรือที่เรียกว่ากรีนอะโนล) ซึ่ง โดยทั่วไปแล้วจะถูกผลักไสไปที่ยอดไม้